Working languages:
English to Thai
Chinese to Thai

Lers Thisayakorn
Best at English-Thai; Chinese-Thai

Local time: 16:14 +07 (GMT+7)

Native in: Thai Native in Thai
  • PayPal accepted
  • Send message through ProZ.com
Feedback from
clients and colleagues

on Willingness to Work Again info
No feedback collected
Account type Freelance translator and/or interpreter
Data security Created by Evelio Clavel-Rosales This person has a SecurePRO™ card. Because this person is not a ProZ.com Plus subscriber, to view his or her SecurePRO™ card you must be a ProZ.com Business member or Plus subscriber.
Affiliations This person is not affiliated with any business or Blue Board record at ProZ.com.
Services Translation, Interpreting, Training, Project management
Expertise
Specializes in:
Government / PoliticsReligion
ManagementBusiness/Commerce (general)
Investment / SecuritiesFisheries
Manufacturing

Rates
English to Thai - Rates: 0.04 - 0.05 USD per word / 20 - 25 USD per hour
Chinese to Thai - Rates: 0.06 - 0.07 USD per character / 30 - 35 USD per hour

Blue Board entries made by this user  3 entries

Portfolio Sample translations submitted: 4
Thai to English: Sample translation for job agent
Detailed field: Computers (general)
Source text - Thai
Source text

Thinking about PROCESSORS, CHIPS AND OTHER TECHNOLOGIES FOR DESKTOP COMPUTERS, what products or brands come to mind? [WHEN A BRAND IS MENTIONED, PROBE] What other PROCESSORS, CHIPS AND OTHER TECHNOLOGIES FOR DESKTOP COMPUTERS come to mind? [ACCEPT FIRST 3 RESPONSES. RECORD BRAND NAME AND CODE FROM BRAND LIST] IF DK or NONE mentioned do not probe further.

Translation - English
Translation.

เมื่อพูดถึง ชิ้นส่วนเครื่องคอมพิวเต้อตั้งโต๊ะ ไม่ว่าจะเป็น ซีพียู ตัวชิ๊ป หรือชิ้นส่วนเทคโนโลยี่ อื่น ๆ คุณจะคิดถึงชิ้นส่วนของยี่ห้ออะไรก่อน (ถ้าผู้ตอบตอบยี่ห้อสินค้า ให้ถามรายอะเอียดต่อ)

แล้วรอง ๆ ลงมาละครับ คุณว่าคุณจะคิดถึงชิ้นส่วนตัวซีพียู ตัวชิ๊ป หรือชิ้นส่วนเทคโนโลยี่ อื่น ๆ ของยี่ห้ออะไรต่อไป (บันทึกเฉพาะ 3 คำตอบแรก บันทึกทั้งยี่ห้อและระหัส สินค้า ถ้าไม่ทราบหรือไม่ตอบ ไม่ต้องถามต่อ)

Thai to English: Head lice
Detailed field: Linguistics
Source text - Thai
ตัวเหา
เหาเป็นแมลงชนิดดูดเลือดเป็นอาหารที่ไม่มีปีก อาศัยและเกาะกินเลือดคน มีความ ‘สามารถเป็นพิเศษ’ ในการอยู่กินบนหัวคน เหาแต่ละตัวมีรูปร่างพิเศษและมีหัวเรียวเล็กเป็นรูปไข่เหมาะสำหรับที่จะชอนไชไปบนหัวคน ที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียล เหาจะเคลื่อนไหวไปมาได้ประมาณ 30 เซนติเมตรต่อนาที แต่อุณหภูมิยิ่งสูง เหาก็จะเคลื่อนตัวได้เร็วยิ่งขึ้น เหามีขาหกขาใช้เพื่อเกาะจับตัวมันกับเส้นผมคน โดยปกติแล้ว เราจะพบเห็นตัวเหาได้ที่หลังหู บนแนวไรผมถึงตีนผมบนซอกคอ ซึ่งเป็นบริเวณที่อบอุ่นและมืด ตัวเหาสามารถปรับเปลี่ยนสีตัวให้เข้ากับสีผมของคน ทำให้ยากในการสังเกตเห็น สีของตัวเหาแต่ละตัวมีตั้งแต่สีน้ำตาลไปจนถึงสีดำ และสีของมันจะเปลี่ยนเป็นแดงเข้มหลังจากได้ดูดเลือดจนอิ่มแล้ว เรามักจะพบเห็นได้บ่อยบนหัวของเด็ก ๆ อายุระหว่าง 5 ถึง 12 ขวบ

Translation - English
Head Lice
Head lice are bloodsucking insects without wings. They are parasites that feed on human blood. Head lice have ‘specialised’ in living on human heads. The specially shaped body and small oval head ensure that the louse can move easily through the hair on your head. At 20 degrees Celsius, head lice can move at around 30 cm per minute. The higher the temperature, the faster the lice can move. Head lice have six legs, which they can use to attach themselves to the hair. Generally speaking, head lice can be found behind the ears, along the hairline and in the neck, as these areas are warm and dark. Head lice can adapt their colour to the colour of the hair, which makes them difficult to spot. The colour of the louse can vary from sandy-coloured to nearly black. After they have fed on blood they become dark red. Head lice occur most frequently in children aged 5 to 12.
English to Thai: Communication across cultures
General field: Social Sciences
Detailed field: Telecom(munications)
Source text - English
Communication across cultures by Lers Thisayakorn

One of the biggest problems in this globalization world today is communicating across cultures at all levels. My wife, Sylvia, was telling me about the wound in her finger caused by cooking the other day, but I thought she was asking me how the food for the dinner was. Fortunately, dinner was over or I might not even have one.
This could be worse if we have to communicate in different languages across culture. One is probably blessed if he or she is born in a native English speaking country like UK, USA, Canada, and Australia. Otherwise, you must learn at least one foreign language which is English. A friend of mine told me the other day that just learning English is not enough nowadays. You must pick up Chinese too if you live in the eastern part of the world and learn Spanish if you are in the other part of the western world.
Well, learning Spanish may be bearable, but what about Chinese. There are so many dialects in Chinese. Should I learn Cantonese or Shanghainese or Mandarin? In a tiny land here in Thailand, there are at least 4 different major dialects not to mention half a dozen more of the hard to understand regional accents. How can Indian communicate with each other with so many dialects is really amazed me. And how about Lingo, Colloquiums, Jargons, Slang and what have you.
Teenagers in Thailand have recently developed their own new set of obscured vocabulary understood only among them. It took the Thai society or at least I myself a few years to understand what the word “Gig” or “Mouth” created by these youngsters mean. In August this Year (2007), the Thai national language group decided to gather a big portion of all these youngsters talk into the new Thai dictionary. Well, “Gig” is a man or woman who is not your spouse but has a very special intimate relationship with. And “Mouth” means to talk a lot. English dictionary is doing it too. The new English dictionary has words like “Google”, “Yahoo”, and “newbie”. Well, to Google simply means to search for information.
Ironically, some words sound beautifully in one language can sound disastrous in another language. The word “Pumpkin” in Thai sounds exactly the four-letter words in English. The Chinese word in “Chewchow dialect” for “ear” sounds like the very rude word “vagina” in Thai. A lovely Thai nickname ‘Tiu” means another four letters word in Cantonese. There are more like these and I can certainly write a book on it.
If you are an interpreter or translator, you may have come across some words or phrases that are simply not appropriate to translate. You can explain, citing examples and allegories, but still, you cannot come to the exact meaning of the word. A few Thai words certainly have this kind of characteristic. The most difficult and essential one is “Kreng - Jai”.
“Kreng – Jai” is important and need to be tackled with care because it involves not only language but the understanding of the whole Thai culture and behavior. Many expatriates, missionaries, foreigners fail to understand Thai and the culture because they fail to understand this one single Thai word “Kreng – Jai” fully. Experts, Linguists, Expressionists, Sign & Symbols Reading have tried to put “Kreng – Jai” in one simple explanatory word or sentence or expression but has not been very successful so far in many years.
In Thailand, you may not or cannot do some certain thing even though you know it full well that it is right to do so because you simply have to “Kreng – Jai” another person. It is not a matter of right or wrong but the appropriateness of doing so. Many things that may seem to be straightforward, simple, and easy outside Thailand could be very complicated here in this land of a smile if you do not handle “Kreng – Jai” rightly. Many times they can be escalated to be a life and death matters.
If wife and husband can be so mistakenly wrong in a certain conversation, how much more can nations do the same wrong with different languages and culture? Let us take cross cultures communication more seriously. Let us listen more and talk less, pay attention when listening, understand what is said before we talk. It may sound easy but it, in fact, takes a heap of efforts to do so. So let us all make the best of our efforts in Communicating across Cultures.
Translation - Thai
วัฒนธรรมแปรผัน – ในการเดินทาง
นอกจากว่าคุณจะไม่เดินทางเลย ไม่เช่นนั้น คุณอาจจะต้องพบกับสิ่งหนึ่งที่รู้จักกันว่า วัฒนธรรมผันแปร
เมื่อคุณพ่อส่งผมไปเรียนหนังสือที่ฮ่องกงตอนอายุ 7 ขวบในปี 1956 ผมไม่เคยรู้จักคำที่ใช้เรียกกันในปัจจุบันว่า “วัฒนธรรมแปรผัน หรือ Culture Shock” ซึ่ง Kalvero Oberg เป็นคนใช้คำ ๆ นี้เมื่อไม่นานก่อนหน้านั้นในปี 1954 ที่บอกถึงประสบการณ์ทางจิตใจของผู้ใหญ่ในช่วงเวลาของการปรับตัวให้เข้าวัฒนธรรมท้องถิ่น (ต่างกับการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมของเด็กที่กำลังเจริญเติบโตขึ้น)
วัฒนธรรมแปรผันแรก
ผมเข้าเรียนในชั้นประถมปีที่สี่ในเช้าวันหนึ่ง และเตรียมตัวที่จะเรียนวิชาการเขียนภาษาจีนด้วยพู่กัน ผมเริ่มเอาแท่นฝนหมึกและขวดน้ำที่ผมใช้เมื่อตอนที่ผมเรียนวิชานี้ในชั้นประถมปีที่ 3 ที่ประเทศไทยออกมา เทน้ำใส่ลงในแท่นฝนหมึกและลงมือฝน ในทันใดนั้นเอง เพื่อน ๆ ในชั้นกว่า 30 ชีวิตได้หันหน้ามาที่ผม และหัวเราะใส่ผม ผมไม่รู้ว่าเกิดอะไรขึ้น แต่รู้สึกเขินอายมากและอยากจะเอาหัวผมหมุดลงดินไปให้พ้นจากทุกสายตาที่จ้องมองมาที่ผม ผมมารู้เอาภายหลังว่า ที่ฮ่องกง เขาเลิกใช้แท่นฝนหมึกไปนานแล้ว และใช้ตลับหมึกทันสมัยในการเขียนพู่กันภาษาจีน และพวกเขาคิดว่าผมมาจากคนสมัยราชวงศ์ชิงอะไรทำนองนั้น
วัฒนธรรมแปรผันที่สอง
ในเช้าวันอาทิตย์หนึ่งซึ่งเป็นวันหยุดของทุกคนในฮ่องกง ผมได้ออกไปเดินเล่นแถวถนนนาธานกับเพื่อนคนหนึ่ง เราเป็นเพื่อนดีกันและเป็นเรื่องปกติที่เราจะจูงมือและกอดคอกันเดิน และในทันใดนั้นเอง ก็มีตำรวจใส่เครื่องแบบคนหนึ่งเดินเข้ามา และพูดเสียงดังใส่เราทั้งสองได้ใจความว่า “ที่ฮ่องกง ผู้ชายด้วยกันจับมือถือแขนกันในที่สาธารณะนั้นเป็นสิ่งผิดกฏหมาย ” แล้วมันจะผิดกฎหมายบ้าบออะไรได้ ผมคิดในใจ เพื่อนดีก็จูงมือถือแขนเดินกอดคอกันที่เมืองไทย (ในสมัยปี 1954 ใคร ๆ ก็ทำเช่นนั้นกัน) ผมมาเรียนรู้เอาภายหลังว่า มันผิดกฎหมาย รักร่วมเพศ ของฮ่องกง ที่อยู่ภายใต้การปกครองของประเทศอังกฤษในสมัยนั้น ผมสัมผัสถึงวัฒนธรรมแปรผันที่ผมไม่เข้าใจอย่างรุนแรง เวลานั้น ผมอายุ 14
วัฒนธรรมแปรผันต่อมา
อีก 1 ปีให้หลังเมื่อผมอายุ 15 คุณพ่อผมส่งผมไปเรียนหนังสือต่อที่ซีดนี่ย์ ออสเตรเลีย ในสมัยนั้น เครื่องบินยังเป็นเครื่อง 2ใบพัดหัวเชิด และการสูบบุหรี่ในเครื่องบินถือว่าเป็นเรื่องโก้ ขณะที่ผมกำลังทานอาหารอร่อยอยู่ระหว่างที่บินจากสิงคโปร์ไปซีดนี่ย์ ผมได้ทำสิ่งที่ผมทำเป็นปกติเมื่อผมทานข้าว คือดื่มน้ำและก็เคี้ยวน้ำแข็งไปด้วย ในทันใดนั้นเอง คนทั้งเครื่องบินซึ่งเป็นฝรั่งเกือบหมดได้หันหน้ามาที่ผมพร้อมเพียงกัน และมองผมด้วยสายตาที่ตำหนิ ผมไม่รู้ว่าผมทำอะไรผิด แต่ผมไม่ชอบสายตาที่เพ่งใส่ผมแบบนั้น ต่อมา ผมได้ทราบว่าการเคี้ยวน้ำแข็งในที่สาธารณะนั้นเป็นพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมอย่างยิ่งสำหรับฝรั่ง และเป็นเหตุผลที่ว่า ทำไมสายตาเหล่านั้นจึงมองดูผมด้วยความรังเกียจ
วัฒนธรรมแปรผันอีก
ผมนั่งทานข้าวกับเพื่อนร่วมห้องและแม่บ้านในวันหนึ่งที่ซีดนี่ย์ แล้วอยู่ ๆ แม่บ้านก็เอากระดาษทิสชู่ออกมาสั่นขี้มูกเสียงดังลั่นห้องหน้าตาเฉย ผมงี้เกิดมาจากท้องพ่อท้องแม่ยังไม่เคยได้เห็นอะไรแบบนั้นในชีวิต ตกใจมาก และไม่สามารถจะทานข้าวต่อไปได้ สำหรับผม นั่นเป็นวัฒนธรรมแปรผันที่ผมจดจำได้มาตลอดจนถึงทุกวันนี้และคงจะไม่มีวันลืมมันไปได้
วัฒนธรรมแปรผันบางอย่างก็น่ากลัวมากจริง ๆ คุณเคยได้ยินวัฒนธรรมของชาวนิวซีแลนด์ ที่เอาจมูกมาถูกันเมื่อพบกัน แล้วก็วัฒนธรรมของชาวอัฟริกาเผ่าหนึ่งที่ถ่มน้ำลายลงพื้นใส่กันเมื่อพบกันเล่า หรือจะเป็นวัฒนธรรมชนกลุ่มน้อยเผ่าหนึ่งที่ปลายเหนือสุดของประเทศไทย ที่ต้องมอบพรมาจารีเจ้าสาวให้หัวหน้าเผ่า 1 คืนเพื่อจะได้พรในชีวิตสมรส อีกวัฒนธรรมหนึ่งที่พวกเราทำกันเป็นประจำและถือว่าเป็นเรื่องต่ำทรามมากในวัฒนธรรมของฝรั่งคือ เราตัดเล็บในที่สาธารณะ
ผมคงจะเขียนประสบการณ์วัฒนธรรมแปรผันของผมได้เป็นหนังสือหลายเล่ม บางเรื่องก็เป็นเรื่องน่าขัน บางเรื่องก็แปลก หลายเรื่องก็น่ากลัว สำหรับคนที่ไม่ต้องเดินทางเลย ก็คงจะไม่มีปัญหาเรื่อง วัฒนธรรมแปรผัน แต่สำหรับคนที่ต้องเดินทาง โดยเฉพาะเดินทางไปในที่แดนไกลต่างวัฒนธรรม ก็จงเตรียมตัวเตรียมใจที่อาจจะต้องพบกับ “วัฒนธรรมแปรผัน หรือ Culture Shock”
English to Thai: Culture Shock
General field: Social Sciences
Detailed field: General / Conversation / Greetings / Letters
Source text - English
Culture Shock
by Lers Thisayakorn (เลิศ ทิสยากร)
1980

Unless you do not travel, you are bound to experience some kind of culture shock.

When my father sent me off to school in Hong Kong at the age of 7 in 1956, I did not aware of the cultural problem we all know today as culture shock. The term "culture shock" was coined by Kalvero Oberg only a few years earlier in 1954 and was hardly known by any common people at that time. It is a psychological experience of adults during the time of cultural adjustment that accompanies a period of cultural socialization or acculturation (which is different from the enculturation process experienced by small children).

The first shock
I went into a primary 4 classroom one morning and prepared to learn my new lesson of Chinese calligraphy. I took out my usual writing gears I used back home in Thailand. It was an ink-pad and the writing brush. I poured some water on the pad and started to rub on it to get some black ink to write. Suddenly, the whole classroom of thirty over students started to stare and laugh at me. I did not know what was going on. But I was so embarrassed I just wanted to duck my head under to escape all eyes that were staring at me. I learned later that they do not use the kind of ink-pad for Chinese writing any more in Hong Kong. They use a modern tiny ink box and pour in the black ink when you want to write. They thought I came from the former Chinese Dynastic of Qing.

Second Shock
One Sunday morning and it was a holiday for everyone in Hong Kong, I went out window shopping with a friend at the famous shopping centre of Nathan Road. We were good friends and it would be natural for us to hold hands or hugging each other with arms on the shoulders while walking. Suddenly, a man walked by and told us that it was illegal in Hong Kong for boys to hold hands in public. It was quite a shock to us. How could that be? We would do that to our good friend back at home in Thailand. I learned later that the behaviour might be considered as breaking the Homosexual law in Hong Kong which was ruled by Britain at that time. I was 14 years old then.

Continuing shock
One year later at the age 15, my father sent me to further my studies in Australia. We were still flying propeller planes and allowed to smoke in the cabins. That was a universal culture and nobody seemed to be annoyed at the smokes that get into your eyes. I was enjoying my meal flying from Singapore to Sydney. I did what I usually do with ice in my mouth, i.e. I simply chewed it. Suddenly, the whole plane turned and stared at me with blaming eyes. I did not know what I did wrong. But I felt so confused at the situation. I learned after that it is extremely impolite to chew ice with a loud noise in public for the western culture.

The next shock
I was dining on a table with my shared roommate and my landlady. Suddenly my landlady took out a piece of tissue and started to blow her nose. I do not know how I could continue sitting on the table and had my meal. This is something we do not do on the table. To me, that was a horrible shock.

Some shocks are indeed quite a shock. Have you heard of a culture in New Zealand where tribe members rub noses with each other in their greetings? How about a custom in one of the African tribes where people spit on the floor to greet each other? There is also a small hill tribe in the remote part of northern Thailand where a bride is to offer her virginity to the clan head for good luck before she can reunion with the groom. We also do nails clipping in any public place and that is considered to be alright.

I can write a whole book on my experience in the subject. Some may not have the problem. Some may not travel. Some may travel extensively and simply are shockproof. But for those who travel occasionally and especially to a faraway land, be prepared for the culture shock. And I say “Be prepared.”
Translation - Thai
อาการจิตตื่นตระหนกจากวัฒนธรรม
เลิศ ทิสยากร เขียน
1906
ยกเว้นว่าคุณจะไม่เดินทางเลย ไม่เช่นนั้น คุณจะต้องพบกับสิ่งที่เรียกว่า อาการจิตตื่นตระหนกจากวัฒนธรรม เมื่อคุณพ่อผมส่งผมไปเรียนหนงสือที่ฮ่องกงตอนอายุ 7 ขวบในปี 1956 ผมไม่รู้จักว่าอะไรคือ อาการตื่นตระหนกจากวัฒนธรรม ซึ่ง Kalvero Oberg เป็นคนแรกที่ใช้คำ ๆ นี้เมื่อไม่กี่ปีก่อนหน้านี้ในปี 1954 อันเป็นอาการประสบการณ์ทางจิตของผู้ใหญ่ในช่วงเวลาปรับตัวให้เข้ากับวัฒนธรรมใหม่ หรือที่เรียกว่า acculturation (แตกต่างจากอาการปรับตัวของเด็กต่อสิ่งใหม่ ๆ ในวัยเจริญเติบโตที่เรียกว่า enculturation)
อาการจิตตื่นตระหนกครั้งแรก
ผมเดินเข้าไปชั้นเรียนประถม 4 เช้าวันหนึ่งเพื่อเตรียมตัวเรียนวิชาการเขียนพู่กันจีน ผมก็เอาตลับหมึกและที่ฝนพร้อมพู่กันคู่ใจที่ผมเอามาด้วยจากเมืองไทย ผมเทน้ำลงในช่องตลับหมึกและเริ่มฝนหมึกเพื่อที่จะเขียน ทันใดนั้น เพื่อนทั้งชั้นก็รวมสายตาจ้องมาที่ผมแล้วหัวเราะเสียงดัง ผมไม่รู้ว่าเกิดอะไรขึ้น แต่รู้สึกเขินอายอยากจะเอาหัวซุกไว้ใต้โต๊ะเพื่อจะหลบหนีสายตาที่จ้องมาที่ผม ผมได้รู้ต่อมาว่าเด็กในฮ่องกงไม่ได้ใช้ตลับหมึกเพื่อฝนหมึกอีกแล้ว แต่จะใช้กล่องหมึกเล็ก ๆ สวยงามเพื่อเทน้ำหมึกลงไปใช้ในการเขียน พวกเขาเคยเห็นแต่ตลับหมึกในภาพยนต์ เลยคิดว่าผมมาจากคนจีนสมัยราขวงศ์ชิงที่ไว้หางเปีย
อาการจิตตื่นตระหนกครั้งที่สอง
เช้าวันอาทิตย์หนึ่งซึ่งเป็นว้นหยุดของคนฮ่องกงทุกคน ผมกับเพื่อนๆ ไปเดินเที่ยวห้างกันบนถนนนาธานอันลือชื่อของฮ่องกง พวกเราสนิทกัน จึงเป็นธรรมดาที่จับมือถือแขนกอดคอเดินกันไปตามปะสาวัยรุ่นไทย ทันใดนั้น ก็มีตำรวจนายหนึ่งเดินเข้ามา และตักเตือนพฤติกรรมพวกเราว่าหยาบคายและผิดกฏหมายบ้านเมือง พวกเราตกใจมาก ไม่กล้าเถียงตำรวจ แต่เนี่ยมันผิดอะไรกัน ก็ทำกันเช่นนี้ในเมืองไทยทุกคน ผมมารู้เอาภายหลังว่า พฤติกรรมพวกเราถือว่าเป็นพฤติกรรมรักร่วมเพศที่ผิดกฏหมายในฮ่องกง ซึ่งเวลานั้นเป็นเมืองขึ้นของอังกฤษและใช้กฏหมายอังกฤษ ผมอายุ 14 ปี
อาการจิตตื่นตระหนกครั้งต่อไป
หนึ่งปีให้หลังเมื่อผมอายุได้ 15 ปี คุณพ่อส่งผมไปเรียนต่อที่ประเทศออสเตรเลีย เวลานั้น เครื่องบินยังเป็นแบบใบพัดอยู่ และผู้โดยสารบนเครื่องเกือบทั้งหมดจะเป็นฝรั่ง ทุกคนสูบบุหรี่กันได้บนเครื่องบินไม่มีใครว่า เรียกได้ว่า ควันโขมงโฉงเฉงเต็มเครื่อง ผมกำลังกินอาหารเที่ยงบนเที่ยวบินจากสิงตโปร์ไปซิดนี่ย์ ผมก็ทำในสิ่งที่ผมทำเป็นนิสัย คือเคี้ยวน้ำแข็งในปาก ทันใดนั้น คนทั้งเครื่องบินหันขวับมามองผมหมด ตาจ้องเขม็งมาที่ผม ผมไม่รู้ว่าได้ทำอะไรผิด แต่รู้สึกสับสนกับสายตา ซึ่งผมมารู้เอาภายหลังว่า การเคึ้ยวน้ำแข็งในสถานที่สาธาณะนั้น เป็นสิ่งที่ไม่มีมรรยาทมากในวัฒนธรรมตะวันตก
อาการจิตตื่นตระหนกที่ตามมา
ผมกำลังกินข้าวบนโต๊ะกับเพื่อนร่วมบ้านพร้อมกับแม่บ้าน ทันใดนั้น แม่บ้านก็เอากระดาษทิสชู่ออกมาสั่นขี้มูกเสียงดังลั่นห้อง ผมตกใจมาก เกิดมาจากท้องพ่อท้องแม่ก็เพิ่งจะเคยพบเคยเห็น ผมรู้สึกจะอาเจียนและแทบจะกืนอาหารต่อไปไม่ได้ สิ่งที่แม่บ้านทำ เป็นสิ่งที่คนจีนไม่ทำกัน ผมตกใจสุดขีดในเวลานั้น
อาการจิตตื่นตระหนกบางชนิดก็น่ากลัวมากจริง ๆ คุณเคยเห็นคนนิวซีแลนด์ทักทายกันด้วยการเอาจมูกมาถูกัน หรือวัฒนธรรมชาวอัฟริกาบางเผ่าที่กล่าวสวัสดีด้วยการถุยน้ำลายลงพื้นใส่กัน มีชนกลุ่มน้อยตอนเหนือของประเทศไทยที่ต้องให้เจ้าสาวนอนเสียพรหมจารีย์ก่อนกับหัวหน้าเผ่า เพื่อความโชคดีมีชัยในชีวิตสมรส คนไทยก็ยังตัดเล็บในที่สาธารณะที่ฝรั่งห้ามเด็ดขาดได้โดยไม่รู้สึกอะไร
บางคนอาจจะไม่ต้องไปสนใจอะไรเกี่ยวกับอาการจิตตื่นตระหนกจากวัฒนธรรม เพราะไม่เคยเดินทาง บางคนก็เดินทางอย่างกับนั่งรถเมล์จนชินชาไปหมดกับความแตกต่างทางวัฒนธรรม แต่สำหรับคนที่นาน ๆ บินทีและต้องบินไปไกล ๆ เป็นหลายสิบชั่วโมง ก็จงเตรียมตัวเตรียมใจที่จะต้องพบกับอาการจิตตื่นตระหนกจากวัฒนธรรม และผมขอพูดย้ำอีกครั้งว่า ท่านต้องเตรียมตัวเตรียมใจในเรื่องนี้
ผมคงจะเขียนเรื่องอาการจิตตื่นตระหนกจากวัฒนธรรมได้เป็นหนังสือหลายเล่ม ว่าง ๆ จะมาเล่าเรื่องที่น่าเล่าให้ลูกหลานได้รู้เอาไว้


Experience Years of experience: 17. Registered at ProZ.com: Jun 2007.
ProZ.com Certified PRO certificate(s) N/A
Credentials N/A
Memberships N/A
Software Microsoft Excel, Microsoft Word, Pagemaker, Powerpoint, TransSuite2000
CV/Resume English (DOCX)
Bio

1971 - 2006
Working with United Cold Storage Co. Ltd. - a processor and exporter of frozen seafood company to major countries in the world.

2007- present
Freelance translator.

Language
pairs                                                      

English Thai; ChineseThai

Words per
day

4,000 words
for general papers and 2000 for technical papers.

Fee:

Translation: USD./word for source
or target: 0.045

Edition:
USD./word for source or target: 0.03

Article
writing: USD./word 0.11

Interpretation: USD 20/hour plus daily transportation 1,000 Baht within the Bangkok
metropolitan area.

Keywords: Business translator; Theological translator; Social work transalator; General translator.


Profile last updated
Jan 24



More translators and interpreters: English to Thai - Chinese to Thai   More language pairs